ประวัติ และผลงานทางวิชาการ
นายมาโนช บุญทองเล็ก
MR.MANOCH BOONTONGLEK
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
เลขที่ 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ต.คลองหก อ.ธัญบุรีจ.ปทุมธานี 12110
โทรศัพท์ที่ทำงาน 02 549 3271
โทรสาร 02 577 5022
โทรศัพท์มือถือ 093 595 9898
อีเมลล์
- manodch556@gmail.com
- manoch_b@rmutt.ac.th

ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ | สาขาวิชาที่จบ | ปีที่จบ | สถาบันการศึกษา |
ปร.ด. | เทคนิคศึกษา | 2564 | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
ศศ.ม. | ไทยศึกษา | 2551 | มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
ศษ.บ. | นาฏศิลป์ไทย | 2541 | สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล |
ผลงานทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
ฉบับภาษาอังกฤษ
Manoch Boontonglek, Pravit Rittibul, Riswan Orachun and Panurat Boonsong. (2023). Dramatic Arts Innovation and learning management in the 21st century. Asian Journal of Arts and Culture, 23(2), 1-11, July-December. (TCI1)
ฉบับภาษาไทย
ประวิทย์ ฤทธิบูลย์และมาโนช บุญทองเล็ก. (2566, มกราคม-มิถุนายน). พิธีไหว้ครูและการสืบทอดผู้ประกอบพิธีไหว้ครูโขน-ละครในรูปแบบพิธีหลวง. วารสารวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 14(1): 90-114.
ตำรา/หนังสือ
มาโนช บุญทองเล็ก. (2558). นาฏศิลป์ระดับปฐมวัย. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกัด.
งานวิจัย/บทความวิจัย (ระดับนานาชาติ)
Pravit Rittibul, Manoch Boontonglek, Artitaya Ngerndang, Riswan Orachun an Chananchida Nasom. (2024). Nawat Phusa (Pha) Yaikluay: Promoting innovation of natural banana fibers into product design to enhance cultural creative economy products through performing arts dimension. Arte, Individuo y Sociedad. 36(1). (SCOPUS-Q1)
Manoch Boontonglek, Pravit Rittibul and Panurat Boonsong. (2021). A Study of the Use of Khon for Promoting Well-Being of Male Inmates in Central Correctional Institution for Young Offenders, Pathum Thani. Psychology and Education Journal, 58(5): 7541-7555.
Manoch Boontonglek, Nonthalee Prontadavit, Pratoomtong Trirat, Rinradee Prammanee. (2021). The Development of the Thai Dance Teaching Model for Global Citizenship. Review of International Geographical Education Online.
Manoch Boontonglek, Pravit Rittibul and Panurat Boonsong. (2021). A Study of theUse of Khon for Promoting Well-Being of Male Inmates in Central Correctional Institution for Young Offenders, Pathum Thani. The 5th International Conference on Nation-Building (ICNB) 2021: Innovative Strategies for Crisis Recovery and Nation-Building September, 8th-9th, 2021 in Bangkok, Thailand.
Manoch Boontonglek, Nonthalee Prontadavit, Pratoomtong Trirat, Rinradee Prammanee. (2021). A Learning Management Model of Thai Dance of National Artists in Performing Arts. Conference Program (Online) The 8thInternational Conference on Education (ICE 2021) and The 17th National
Conference “Innovative Education: Future and Challenge in Educational Research on Teaching and Learning Toward Professional Development” June 5, 2021 Faculty of Education, Silpakorn University, Nakhon Pathom, Thailand. 142-152.
Phanniphong, K., Nuankaew, P., Teeraputon, D., Nuankaew, W., Boontonglek, M., & Bussaman, S. (2019). Clustering of Learners Performance based on Learning Outcomes for Finding Significant Courses. 2019 Joint International Conference on Digital Arts, Media and Technology with ECTI Northern Section Conference on Electrical, Electronics, Computer and Telecommunications Engineering (ECTI DAMT-NCON), 192–196.
Arnon Niyomphol, Manodch Boontonglek, Pratoomtong Trirat, Seksan Sakonthawat, Artip Sornsujitra and Parujee Charoenphao. (2019). The Development of Paradigm, Model, and Mechanism for Teacher Development Based on the Area Network Concept: A Case Study of the Faculty of Industrial Education, Faculty of Fine and Applied Art, and Faculty of Home Economics Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. The 4th International Conference on Innovative Education and Technology (ICIET 2019) 11-13 July 2019, Pattaya, Chonburi, Thailand. 162 - 170.
Porakoch Sirisuwan, Tomoya Takeda, Manodch Boontonglek, Supapharn Thumsorn, Hiroyuki Hamada. (2016). Comparison of Thai Greeting (Wai) Behavior with the Differential Education. 13th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium 2016 (EMSES). P. 104. December 1-4, 2016 Centara Hotel & Convention Center Udon Thani, Udon Thani, Thailand.
งานวิจัย/บทความวิจัย (ระดับชาติ)
ฉบับภาษาอังกฤษ
Pravit Rittibul, Manoch Boontonglek, Narongsak Roayutara and Nattawut Donklang. (2022, July-December). Ramayana's royal thesis to form of Khon performance: A case study of Khon Scene Ramayana story: Ronnapak Asurin Indrajit. Asian Journal of Arts and Culture, 22(2), 1-10, July-December. (TCI1)
ฉบับภาษาไทย
ประวิทย์ ฤทธิบูลย์, มาโนช บุญทองเล็ก, พิสิษฐ์ บัวงาม, และโสฬส มงคลประเสริฐ. (2566, กรกฎาคม-ธันวาคม). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องโขนวิทยา
ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา ในฐานวิถีชีวิตใหม่. สิกขา วารสาร ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล. 10(2): 116-127.
ประวิทย์ ฤทธิบูลย์, มาโนช บุญทองเล็ก และ เอกชัย ศรีศักดิ์. (2561). หนังติดตัวโขน: กรณีศึกษา โขนหน้าจอ เรื่องรามเกียรติ์ ชุดศึกวิรุญจ าบัง. การประชุมวิชาการวิจัยระดับชาติ “สืบสานศาสตร์ศิลป์ ส่งเสริมสยาม สู่ความยั่งยืน” วันที่ 18 กรกฎาคม 2561 ณ อาคาร ปฏิบัติการอาหารฮาลาล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี. 217-235.
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น (งานวิจัยสร้างสรรค์ ระดับชาติ)
ประวิทย์ ฤทธิบูลย์, มาโนช บุญทองเล็ก และอาทิตยา เงินแดง. (2566). นวัตภูษา (ผ้า) ใยกล้วย (การพัฒนานวัตกรรมจากเส้นใยจากธรรมชาติสู่การออกแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมและ ยกระดับสินค้าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรมผ่านมิติการแสดง). งานการประกวด สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมราชมงคลครั้งที่ 5 (The 5th RMUT Innovation Awards 2023) ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม-1 กันยายน 2566 ณ ศูนย์ประชุมนงนุชเทรดดิชั่นเซ็น เตอร์ฮอลล์ สวนนงนุชพัทยา ตำบลนาจอมเทียน อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
พิสิษฐ์ บัวงาม, มาโนช บุญทองเล็ก และคำรณ สุนทรานนท์. (2565). นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด อดูลปีศาจชมดง. การนำเสนอผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรค์ระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 6 The 6th BPI : Presentation of Creative Performing Arts วันที่ 16-17 ธันวาคม 2565 ณ โรงละครศิลปนาฏดุริยางค์ (ศาลายา) สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น (งานวิจัยสร้างสรรค์ ระดับนานาชาติ)
Manoch Boontonglek and Rojana suntharanont. (2020). The Creative Performance Named “Bua Sawan Lum Plearn”. RMUTL International Art Workshop & Exhibition 2020 6th-8th February 2020 Faculty of Fine Art and Industrial Design Rajamangala University of Technology Isan Nakhon Ratchasima, Thailand.
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น (ที่ปรึกษางานวิจัย)
นันท์นภัส แนงแหยม, ฐิตาภา สุนทรวัฒน์, มินธาดา คชานันท์, ประวิทย์ ฤทธิบูลย์ และ มาโนช บุญทองเล็ก. (2565). การพัฒนาบอร์ดเกมวิชานาฏศิลป์ไทย เรื่อง นาฏศิลป์พื้นเมือง. การประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 16 เนื่องในวโรกาสคลายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระนางเจารำไพพรรณี ครบ 118 ป “50 ป มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การวิจัยเพื่อการพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่น” ในวันที่ 19 ธันวาคม 2565 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. 26-35.
ปิยะฉัตร แก้วคงวงษ์, ลิลรนี อร่ามคำ, สุพรรณิกา สิงห์วี, ประวิทย์ ฤทธิบูลย์ และ มาโนช บุญทองเล็ก. (2565). การพัฒนาสื่อการเรียนรู้เรื่องนาฏยวรรณดี จากเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา ในรูปแบบสื่อการเรียนรู้เสมือนจริง. การประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ หลักสูตรสัมพันธ์ ครั้งที่ 6 หัวข้อเรื่อง “การศึกษา หลักสูตรและการสอนในช่วงแห่งการเปลี่ยนแปลง” The 6th National Conference on Curriculum and Instruction “Education, Curriculum & Instruction in Time of Changes” ในวันอาทิตย์ ที่ 29 พฤษภาคม 2565 ในรูปแบบออนไลน์ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ Zoom Meeting คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. 242-249.
ปิยะฉัตร แก้วคงวงษ์, ลิลรนี อร่ามคำ, สุพรรณิกา สิงห์วี, ประวิทย์ ฤทธิบูลย์ และ มาโนช บุญทองเล็ก. (2565). ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง ผลงาน การพัฒนาสื่อการเรียนรู้เรื่องนาฏยวรรณคดีจากเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา ในรูปแบบสื่อการเรียนรู้เสมือนจริง. การประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ หลักสูตรสัมพันธ์ ครั้งที่ 6 หัวข้อเรื่อง “การศึกษา หลักสูตรและการสอนในช่วงแห่งการเปลี่ยนแปลง” The 6th National Conference on Curriculum and Instruction “Education, Curriculum & Instruction in Time of Changes” ในวันอาทิตย์ ที่ 29 พฤษภาคม 2565 ในรูปแบบออนไลน์ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ Zoom Meeting คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
นิศาชล พลบุตร, สิยากร เขจรรักษ์, ประวิทย์ ฤทธิบูลย์, ประภาส ทองรัก และ มาโนช บุญทองเล็ก. (2564). การพัฒนาห้องเรียนออนไลน์วิชาโขนวิทยา บนฐานวิถีชีวิตใหม่. การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 8 และนานาชาติ ครั้งที่ 4 “นวศึกษาที่ยั่งยืนในช่วงเวลาแห่งความท้าทาย (National and International Conference on Education 2021 (NICE) : Innovative and Sustainable Education in Times of Challenges)” ในระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน 2564 ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (ผ่านระบบออนไลน์). 635-650.
กฤษณ์ติณ ล่องชุม, ศิริญญาภรณ์ โวหารดี, ประวิทย์ ฤทธิบูลย์, นัจภัค มีอุสาห์ และ มาโนช บุญทองเล็ก. (2564). การพัฒนาสื่อโมชันกราฟิก เรื่อง การแต่งกายยืนเครื่องโขน. การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 8 และนานาชาติ ครั้งที่ 4 “นวศึกษาที่ยั่งยืนในช่วงเวลาแห่งความท้าทาย (National and International Conference on Education 2021 (NICE) : Innovative and Sustainable Education in Times of Challenges)” ในระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน 2564 ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (ผ่านระบบออนไลน์). 1126-1145.
ปภาดา ปานขวัญ, มาโนช บุญทองเล็ก และ ประวิทย์ ฤทธิบูลย์. (2564). การศึกษาผลการใช้กฎการเรียนรู้ตามทฤษฎีเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ ในการพัฒนาทักษะพื้นฐานด้านนาฏศิลป์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ครั้งที่ 1 “สร้างสรรค์องค์ความรู้สู่การพัฒนาชุมชนท้องถิ่น” วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 ในรูปแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Microsoft Teams. 228-240.
นันทพร บุญราก, สุพิชญา กระสอบทอง, ประวิทย์ ฤทธิบูลย์ และ มาโนช บุญทองเล็ก. (2562). การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบซิปปาโมเดล เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 “นวัตกรรมการจัดการ: สังคมสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” วันที่ 31 พฤษภาคม 2562 ณ ห้องประชุมราชนครินทร์ ชั้นที่ 5 อาคาร 100 ปี สมเด็จพระศรีนครินทร์ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 633-642.
สุธีรา เผ่าโภคสถิต, ปราจิต ทิพย์โอสถ, ภัทราวรรณ ปิยพิพัฒน์ และ มาโนช บุญทองเล็ก. (2550, พฤษภาคม-สิงหาคม). การศึกษาการถ่ายทอดภูมิปัญญาไทยเพื่อการพัฒนายั่งยืน: กรณีศึกษาศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดงและผู้มีความรู้ความสามารถในท้องถิ่นสาขาศิลปะการแสดง. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 10(3).
อื่นๆ (ลักษณะงาน/ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เปิดสอน)
- คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (5 ปี) สาขาวิชานาฏศิลป์ไทยศึกษา (หลักสูตรฉบับปี พ.ศ. 2556, พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2562)
- อาจารย์นิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 1-2
- คณะกรรมการสอบศิลปนิพนธ์นักศึกษาสาขาวิชานาฏศิลป์ไทยศึกษา
- ที่ปรึกษาโครงการบริการวิชาการด้านนาฏศิลป์ไทย
- กรรมการตัดสินการแข่งขันมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยีของนักเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- วิทยากรถ่ายทอดความรู้และทักษะด้านนาฏศิลป์ไทย กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม
- อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- หัวหน้าโครงการไหว้ครูนาฏศิลป์ดนตรี
- หัวหน้าโครงการการอนุรักษ์และการสร้างสรรค์ทางด้านนาฏศิลป์และดนตรี
- ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวารสารนวัตกรรมสื่อสารสังคม วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคมมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้ทาคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม “รางวัลวัฒนคุณาธร”